วันจันทร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2565

 


ฟรี! เข้ากลุ่ม นำเทรด #กลุ่มสอนฟรี #กลุ่มนำเทรดฟรี #สอนฟรีออฟไลน์และออนไลน์



 

ฟรี! เข้ากลุ่ม นำเทรด 
#กลุ่มสอนฟรี #กลุ่มนำเทรดฟรี #สอนฟรีออฟไลน์และออนไลน์



ไม่ต้องเสียค่ากลุ่ม

เข้าคอร์ส ฟรี!! เริ่มต้นเทรดได้เลย

🔺หมดปัญหาเทรดไม่เป็น

🔺กลุ่มฟรี สอนฟรี



เรียนเสร็จนำไปใช้ได้ทันที



บทวิเคราะห์จากระดับพรีเมี่ยม จากนักวิเคราะห์มากประสบการณ์

- คอร์สเรียนที่มีเนื้อหาคุณภาพดี

- เทคนิคการเทรดที่กระชับ เข้าใจง่าย 

- เทรดสดๆไปพร้อมกับโค้ช

- แนะนำระบบการเทรด ที่มีประสิทธิภาพ สามารถนำไปใช้ได้จริง

- ไม่เพียงบอกเเต่ TP SL เเต่เรายังบอกถึงข่าวปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญต่อคู่สกุลเงินนั้นๆ



#กลุ่มฟรี #สอนฟรี 

#ผู้ที่ไม่ประสบความสำเร็จเราสอนให้ฟรีสำหรับท่านใดที่สนใจ

#ใครสนใจสอบถามหรือทักแชทเข้ามาก่อนได้


วันพฤหัสบดีที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2563

การตั้งค่า kea server โดยใช้ Ubuntu Server 18.04.3 LTS

การตั้งค่า kea server
โดยใช้ Ubuntu Server 18.04.3 LTS

ติดตั้งบนตัว server จะใช้หมายเลข IP คือ 10.0.0.10
ใช้งานบน Network หมายเลข 10.0.0.0
SubnetMask 255.255.255.0
ปล่อย IP ตั้งแต่ 10.0.0.11 ถึง 10.0.0.199 

Default Gateway 10.0.0.1


/// Kea server เป็น server DHCP Open source ที่พัฒนาโดย Internet Systems Consortium และ ISC DHCP เป็นการใช้งานของ protocol การกำหนดค่า Host แบบ Dynamic ซอฟต์แวร์ Kea นั้นเผยแพร่ในรูปแบบซอร์สโค้ด

//// การแจกจ่าย Kea รวมถึง server DHCPv4,server DHCPv6 และ server Dynamic DNS (DDNS) เป็นการจองโฮสต์ (ซึ่งอาจจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลส่วนหลังแยกต่างหาก)



ขั้นตอนที่ 1 Install kea server (ติดตั้ง kea server

// ให้ทำการ Download Ubuntu 18.04.3 LTS (Bionic Beaver) desktop edition ที่เป็นไฟล์ iso image ได้จาก web หลังจากดาวน์โหลดมาแล้วให้ทำการเขียนไฟล์ลง flash drive เพื่อติดตั้งจาก flash drive ก็ได้ หลังจากเสร็จแล้วให้ทำการ restart เครื่องและทำตามขั้นตอนตาม web ที่หามา
/// Ubuntu 18.04.3 สเปคคอมฯ ที่สามารถใช้งานได้ ข้อมูลที่สิ้นเปลืองจากมากไปหาน้อยจะได้ Ubuntu > Ubuntu Budgie > Ubuntu Mate > Kubuntu > Xubuntu > Lubuntu
         คอมฯ สเปคสูง จะใช้ตัวไหนก็ได้
         คอมฯ สเปคกลาง ควรจะพิจารณาตั้งแต่ Kubuntu, Xubuntu หรือ Lubuntu
         คอมฯ สเปคต่ำ เหลือตัวเลือกเดียว คือ Lubuntu
              จะลงใน Mac OS, Windows, Linux ก็ได้



  ใช้คำสั่งนี้เพื่อทำการติดตั้งของ kea-dhcp4 sudo apt-get install kea-dhcp4-server



ขั้นตอนที่ 2 Setup/Edit (ตั้งค่าและแก้ไข)

admins@kea:/etc/kea$ cd /etc/kea/ : cd เพื่อเข้าไปใน directory ของตัว /etc/kea/ ใน directory จะมีตัว kea ที่ติดตั้งไปตั้งแต่ตอนต้น 
admins@kea:/etc/kea$ ls -l : คำสั่งที่ใช้แสดงรายการทั้งหมดที่อยู่ directory ปัจจุบัน
total 24
-rw-r--r-- 1 root root 1185 Dec 20  2019 kea-dhcp4.conf
-rw-r--r-- 1 root root 2197 Nov 29 08:41 kea-dhcp4.conf~
-rw-r--r-- 1 root root  636 Dec 16  2019 kea-dhcp4.conf.bak20191216
-rw-r--r-- 1 root root  747 Dec 17  2019 kea-dhcp4.conf.bak20191220
-rw-r--r-- 1 root root 2553 Dec  2  2019 kea-dhcp4.conf.save
-rw-r--r-- 1 root root  920 Jul 25  2016 kea-dhcp-ddns.conf
admins@kea:/etc/kea$ ls -l kea-dhcp4.conf : แสดงข้อมูลที่มี kea-dhcp4.conf อยู่
-rw-r--r-- 1 root root 1185 Dec 20 2019 kea-dhcp4.conf
admins@kea:/etc/kea$
sudo vi kea-dhcp4.confคำสั่งเพื่อแก้ไข directory kea-dhcp4.conf
[sudo] password for admins: **** : ใส่รหัสเพื่อยืนยัน

// .conf หมายถึง server จะ Run ที่มี .conf ถ้าจะ bakup file ให้ทำการใช้ชื่อที่ไม่ใช่ .conf server จะไม่ Run

    ใช้คำสั่งนี้เพื่อแก้ไขใน directory kea-dhcp4(โฟลเดอร์) sudo vi kea-dhcp4.conf  



  หรือผู้ใช้ที่ไม่ต้องการเข้าใน directory kea-dhcp4   ใช้คำสั่งนี้ sudo vi /etc/kea/kea-dhcp4.conf    


// สุดท้ายหลังจากที่ได้ทำการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดแล้วให้เริ่มต้น server DHCP ใหม่ (restart) เพื่อใช้การกำหนดค่าใหม่และตรวจสอบสถานะการให้บริการโดยการออกคำสั่งด้านล่าง

ขั้นตอนที่ 3 start/stop service (เริ่มต้นและหยุดการให้บริการ)

   ใช้คำสั่งนี้เพื่อ start หรือเริ่มต้นการใช้งาน  sudo service kea-dhcp4-server start  


  
  ใช้คำสั่งนี้เพื่อ stop หรือหยุดการใช้งาน   sudo service kea-dhcp4-server stop  



   ใช้คำสั่งนี้เพื่อตรวจสอบสถานะของ server sudo service kea-dhcp4-server status 






ขั้นตอนที่ 4 Test/check kea (ทดสอบและตรวจสอบ kea-dhcp4)

/// ทำการทดสอบโดยกำหนดของระบบ dhcp server ดังนี้
ติดตั้งบน server หมายเลข IP คือ 10.0.0.10 ใช้งานบน
network หมายเลข 10.0.0.0 subnet mask 255.255.255.0
ปล่อย IP ตั้งแต่ 10.0.0.11 ถึง 10.0.0.199
default gateway คือ 10.0.0.1


ให้คลิกขวา wifi (อินเตอร์เน็ตไร้สาย) เลือก Open Network & Internet settings




ต่อไปคลิกที่ Change your network settings เพื่อจะตั้งค่า wifi 



ต่อไปคลิกขวาที่ Ethernet ให้เลือก properties




                                                             จะได้



ดับเบิ้ลคลิก Internet Protocol Version 4 (TCP/IPv4)เพื่อเข้าไปแก้ไข protocol 



// Obtain an IP address automatically คือ ให้รับ IP เป็นแบบอัตโนมัติ
// Use the following IP address คือ ให้รับ IP เป็นแบบ fig


ต้องตั้งค่าเป็นแบบอัตโนมัติ เพื่อทำการทดสอบ แล้วกด ok 




หลังจากทำการเสร็จสิ้นต้องเข้าไป start service ใน server จะเช็คใน cmd หรือ windows ก็ได้ 

           ใช้คำสั่งนี้เพื่อต้องการทราบ ip ของเครื่อง ( เช็คใน cmd ) ipconfig /all  




   และเลือกเข้าไปเช็คใน windows จะทำโดยการเข้าไปที่ คลิกขวาที่ wifi แล้วคลิก Open Network & lnternet settings และเลือก Change your network settings แล้วคลิกขวาที่ Ethernet ให้เลือก status คลิกไปที่ Details

                                 วงที่ 1 




วงที่ 2 




เพิ่มเติม


ตัวเลือกที่ 1 Check Version ? (ตรวจสอบเวอร์ชั่นปัจจุบัน)

   ใช้คำสั่งนี้เพื่อตรวจสอบเวอร์ชั่น Ubuntu Server 18.04.3 LTS lsb_release -a



ตัวเลือกที่ 2 Shut Down ? (ปิดระบบ server )

   ใช้คำสั่งนี้เพื่อปิดระบบ sudo shutdown now

ตัวเลือกที่ 3  Search Kea-dhcp4/Tool ? (แสดงข้อมูลที่มี kea-dhcp4 อยู่ใน Package )

   ใช้คำสั่งนี้เพื่อค้นหาข้อมูลของ kea-dhcp4 ที่มีอยู่ sudo apt-cache search kea 




//ในบางครั้ง ก็ไม่แน่ใจว่า Package ที่ต้องการใช้นั้นมีอยู่หรือไม่ หรือต้องการจะตรวจสอบสามารถทำอะไรได้บ้าง สามารถใช้ apt-cache มาช่วยได้



ตัวเลือกที่ 4 Search ที่เฉพาะตัวอักษร k e a ติดกัน 

   ใช้คำสั่งนี้เพื่อค้นหาที่ตัวอักษร k e a ติดกัน sudo apt-cache search kea | grep kea 



ตัวเลือกที่ 5 Show all letters "kea" (แสดงตัวอักษรทั้งหมดที่มี kea)

   ใช้คำสั่งนี้เพื่อแสดง Package ทั้งหมดทีมีในชื่อรวมกันของตัวอักษร "kea"   dpkg -l | grep kea




Trick
กด Ctrl+c เพื่อสามารถออกจากลูป
กด q เพื่อออกจากลูปของ man ls ,ออกจากลูปของการตรวจสอบสถานะ
//ถ้าเข้าไปในลูปของ man ls ต้องการแก้ไข ให้กด Insert เพื่อจะได้แก้ไข
// ก่อนจะกด :wq เพื่อบันทึก ต้องกด ESC ก่อนเพื่อออกจากลูปของ Insert
เติม -l หมายถึง ขนาดข้อมูลที่อยู่ในแฟ้ม
คำสั่ง history | more ใช้เพื่อดูประวัติของทุกคำสั่ง
คำสั่ง ifconfig เพื่อตรวจสอบเลขไอพีของ server



ถ้ามีการใช้สิทธิ์ทับซ้อนกันอยู่ (เนื่องจาก server ได้อนุญาตให้มีการใช้งานได้เพียง ip เดียวเท่านั้น) แก้ไขได้ดังนี้


ใช้คำสั่งนี้เพื่อเป็นการถามว่ามี ip ไหนใช้สิทธิ์อยู่บ้าง who

   ใช้คำสั่งนี้เพื่อจะดูว่า admins ที่มี pts อยู่ใน process ใดบ้าง ps -ef | grep pts




admins@kea:/etc/kea$ ps -ef | grep pts : admins ที่มี pts อยู่ใน process ใดบ้าง
admins     1784  1692   0  09:37 ?         00:00:00 sshd: admins
@pts/0   
admins    1785  1784  0  09:37 pts/0    00:00:00 -bash
admins    1847  1785  0  10:18 pts/0    00:00:00 ps -ef
admins    1848  1785  0  10:18  pts/0    00:00:00 grep --color
=auto pts

สีชมพู คือ process
สีส้ม   คือ หมายเลขของคำสั่งนั้น 
สีน้ำเงิน คือ เวลาที่ใช้คำสั่ง 
สีเหลือง คือ คำสั่งที่ใช้
สีฟ้า   คือ หมายเลขที่ต้องการจะลบ

   ใช้คำสั่งนี้เพื่อลบ process ที่ไม่ใช่เครื่องของตนเอง sudo kill -9 ****




   // ถ้าไม่มั่นใจว่าจะใช้คำสั่งลบแบบไหน ให้ใช้คำสั่ง man kill เพื่อค้นหาคำสั่งที่ตรงตามที่จะลบ
admins@kea:/etc/kea$ sudo kill -9 1784
    /// ถ้าต้องการลบแค่คำสั่ง ให้ใช้คำสั่งเดิม แต่ให้ใช้เลขสีส้ม 
[sudo] password for admins: ****    : ใส่รหัสเพื่อยืนยัน
admins@kea:/etc/kea$ ps -ef | grep pts
admins    1975  1871   0 11:18 ?         00:00:00 sshd: admins@pts/1
admins    1976   1975   0 11:18 pts/1    00:00:00 -bash
admins    2032  1976   0 11:25 pts/1     00:00:00 ps -ef
admins    2033   1976   0 11:25 pts/1     00:00:00 grep --
color=auto pts


   ใช้คำสั่งนี้เพื่อลบคำสั่งที่ไม่ใช่หรือคำสั่งที่ใช้ผิด sudo kill -9 ****




admins@kea:~$ ps -ef | grep pts   : ใช้คำสั่งนี้เพื่อดูว่าตอนนี้มีหมายเลขไหนใช้ process ไหน และคำสั่งอะไร ณ ตอนนี้
admins    2426  2344  0 14:30 ?        00:00:00 sshd: admins@pts/0   : ต้องการลบคำสั่งสีฟ้า 
admins    2427  2426  0 14:30 pts/0    00:00:00 -bash
admins    2439  2427  0 14:31 pts/0    00:00:00 ps -ef
admins    2440  2427  0 14:31 pts/0    00:00:00 grep --color=auto pts
admins@kea:~$ sudo kill -9 2344   : ต้องการลบแค่คำสั่ง
[sudo] password for admins: **** ใส่รหัสเพื่อยืนยัน
admins@kea:~$ ps -ef | grep pts
admins    2426     1  0 14:30 ?        00:00:00 sshd: admins@
pts/0     : จะเห็นได้ว่า หมายเลข 2344 ได้หายไปแล้ว 
admins    2427  2426  0 14:30 pts/0    00:00:00 -bash
admins    2444  2427  0 14:32 pts/0    00:00:00 ps -ef
admins    2445  2427  0 14:32 pts/0    00:00:00 grep --color=
auto pts



วันพุธที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2562

Config Switch HuaWei S5600

Config Switch HuaWei S5600

    ขั้นตอนแรก เริ่มจากการ สร้าง Vlan และกำหนด Port 
    - โดยการเข้าหน้าระบบก่อน จะใช้คำสั่ง system-view เพื่อเข้าหน้าระบบ เมื่อ Enter แล้ว จะขึ้นข้อความว่า System View : return to User View with Ctrl+Z. แสดงว่าได้เข้าสู่ระบบแล้ว และถ้าไม่ทราบว่าจะใช้คำสั่งอะไรเป็นการต่อท้าย ให้ใช้ ? เป็นการต่อท้ายคำสั่งนั้น ๆ เพื่อทราบว่าคำสั่งต่อไปคืออะไร แต่ถ้าขึ้น <cr> แปลว่าไม่มีคำสั่งต่อท้าย ให้ใช้คำสั่งนั้นเดิมได้
     - คำสั่ง vlan 100 เพื่อสร้าง Vlan100 และกำหนด Port แต่ก่อนจะกำหนด เพื่อให้แน่ใจว่า switch ตัวนี้ใช้คำสั่งแบบไหน ให้ใส่ ? ต่อท้าย port ? จะมีคำสั่งให้เลือกใช้ได้
     - คำสั่ง GigabitEthernet แล้วจะให้มีกี่ port ถึงกี่ port ก็ใส่ตามที่ต้องการ เช่น port GigabitEthernet1/0/1 to GigabitEthernet1/0/10 เสร็จจากการสร้าง vlan 100 หรือจะตรวจสอบว่าสร้างแล้วจริง 
     - คำสั่ง display เพื่อเช็คนอกลูป
     - คำสั่ง quit เพื่อออกจากลูป vlan 100 แล้วจะดู vlan ไหน เช่น display vlan 100 




     ขั้นตอนสอง Set Ip add ip address ลงใน vlan 100
       - คำสั่ง ip address 10.0.0.1 255.255.255.0 เพื่อ add ip address ใน vlan 100
       - คำสั่ง dis vlan 100 เพื่อเช็คได้ add ip address ไปใน vlan 100 ? 





     ขั้นตอนสาม  Telnet เพื่อ Remote ผ่านโปรแกรม Putty
       - คำสั่ง system-view เพื่อเข้า interface view vty 0 
       - คำสั่ง user-interface vty 0
จะเป็นสร้างโหมดการอนุญาตการ loggin ด้วย password 
       - คำสั่ง authentication-mode password
จะเซ็ตรหัสผ่าน 
       - คำสั่ง set authentication password simple  **** 
กำหนดสิทธิ์ให้กับการอนุญาต user privilege level 2 แล้วก็กำหนด protocol ด้วย protocol inbound telnet




       ขั้นตอนสี่ save 
     - คำสั่ง save แล้วกด y เพื่อยืนยัน





คำสั่ง dis cur เพื่อเช็ครายละเอียด